อันตราย! การอดนอน พักผ่อนไม่เพียงพอ (sleep deprivation) ผลกระทบต่อร่างกายและสมอง

อดนอน พักผ่อนไม่เพียงพอ อาการเป็นอย่างไร

อดนอน – sleep deprivation นับเป็นเรื่องธรรมดาในการทำงานมาตลอดทั้งวี่ทั้งวันที่จะให้สมองอ่อนล้าลงไป หากว่าคุณต้องพบเจอกับงานที่ติดต่อกันทุกวันหลายชั่วโมงติดกันโดยที่ไม่มีเวลาได้พักผ่อนแต่วินาทีเดียวก็ส่งผลให้ร่างกายและสมองนั้นได้รับผลกระทบอย่างมากถือว่ากลายเป็นตัวการที่ทำให้เจ็บไข้ได้ป่วยรวมถึงภาวะทางสมองจากผู้ที่มีร่างกายที่แข็งแรงอยู่แล้วเป็นทุนเดิมก็มาเจ็บป่วยด้วยอาการไม่ทราบสาเหตุ

บางรายจู่ๆก็เกิดเป็นลมหน้ามืดทรุดลงไปที่พื้นและเสียชีวิตกะทันหัน นอกจากนี้ความเครียดที่สะสมก็ยังส่งผลต่อการทำงานของสมองร่วมด้วย โดยเฉพาะความจำ ทำให้เซลล์สมองทำงานล่าช้ารวมถึงบางรายที่มีอายุเพิ่มมากขึ้น นี่จึงเป็นองค์ประกอบรวมที่เป็นสาเหตุแห่งการนอนหลับไม่เพียงพอ

วิธีที่ทำให้สมองไม่ได้รับการพักผ่อนคือการอดหลับอดนอน การปล่อยตัวอยู่กับยามราตรีไปจนถึงเช้า  ทั้งคนก็ควรที่จะเรียนรู้ไว้สักหน่อยว่าการนอนไม่เพียงพอนั้นส่งผลอะไรต่อสมองมากมาย ซึ่งเราก็มีข้อเสียของการนอนไม่เพียงพอมาฝาก รวมถึงวิธีการนอนที่ถูกต้องเพื่อให้สมองและรู้สึกผ่อนคลายดังนี้

ผลกระทบต่อสมองหากคุณนอนหลับไม่เพียงพอ

1.ผู้ที่อดนอนบ่อยๆหรือไม่ได้รับการพักผ่อนเป็นระยะเวลานานจะกลายเป็นคนที่มีความจำสั้นและไม่สามารถทำอะไรได้ยาวนานนัก

  1. สภาพจิตใจแย่และมีความฟุ้งซ่าน

3.หากสมองไม่ได้รับการพักผ่อนตามปกติระบบไหลเวียนโลหิตทำงานผิดปกติไป ทำให้เลือดไม่สามารถที่จะไปเลี้ยงสมองได้อย่างเหมาะสมและอาจนำไปสู่ภาวะโรคเส้นเลือดในสมองตีบได้

4.การนอนน้อยทำให้ฮอร์โมนเพศทำงานผิดปกติได้ การทำงานที่ผิดปกติไปของฮอร์โมนเพศส่งผลต่อรูปร่าง น้ำหนัก และส่วนสูง

  1. สมองที่ไม่ได้รับการพักผ่อนอย่างที่ควรจะเป็นจะไม่สามารถสร้างและหลังภูมิคุ้มกันโรคได้ และส่งผลให้ร่างกายอ่อนแอที่สำคัญยังทำให้เจ็บไข้ได้ป่วยง่ายและบ่อยขึ้นด้วย

6.ถ้าหมอจะอ่อนแรงส่งผลให้การคิดและการตัดสินใจผิดพลาดง่ายมากๆ

7.มีอาการซึมเศร้ากลายเป็นคนทำอะไรเชื่องช้า

8.หาเส้นประสาทในสมองที่คอยเป็นผู้บังคับบัญชาไม่ได้รับการพักผ่อนอย่างเต็มที่และส่งผลให้การทำงานของระบบประสาทต่างๆมีความผิดเพี้ยน บางรายที่อดนอนจะรู้สึกหงุดหงิดและโมโหง่าย

9.หากเป็นคนที่อดนอนระบบประสาทจะทำงานหนักขึ้นส่งผลให้สมองไม่ได้รับการเรียนรู้เรื่องราวแปลกใหม่แล้วจะกลายเป็นคนย้ำคิดย้ำทำอยู่เสมอ

10.การนอนหลับพักผ่อนไม่เพียงพอส่งผลให้สมองไม่เปิดที่จะรับรู้

ท่านอนแบบนี้จะช่วยให้สมองปลอดโปร่ง

แค่การนอนหลับพักผ่อนเพียงพอก็จะช่วยให้สมองได้เปิดรับอะไรใหม่ๆแล้วทำให้คุณมีความทรงจำที่ดีขึ้น คุณรู้ไหมก็นอนหลับในท่านอนที่ถูกวิธีก็จะยังช่วยให้สมองยิ่งเปิดรับอะไรใหม่ๆมากขึ้นด้วย แม้ในขณะเดียวกันหากนอนหลับในท่าที่ผิดก็จะส่งผลเสียต่อสมองเช่นกัน

ซึ่งวันนี้เราก็มีท่านอนที่ถูกวิธีและนำไปใช้มากๆดังนี้

  1. ท่านอนมองฟ้า- มองเพดาน

ถ้าที่จะสบายที่สุดซึ่งคนทั่วไปมักจะนอนหลับในท่าหงายเพราะท่านี้ทำให้การแลกเปลี่ยนออกซิเจนได้ง่ายและสบายกว่า ซึ่งออกซิเจนเป็นพลังงานที่สำคัญซึ่งคุณก็ทราบดีอยู่แล้วที่จะช่วยทำให้การทำงานของสมองอยู่ในระดับปกติ

สิ่งที่คุณต้องรู้: สำหรับผู้ที่เป็นไซนัส การนอนหงายจะช่วยบรรเทาอาการปวดไซนัสได้

สำหรับผู้ที่ใช้หมอนตอนการ 2-3 ใบในช่วงการนอนจะส่งผลให้ปวดต้นคอและยังทำให้เกิดการกดทับทำให้การไหลเวียนของเลือดนั้นไหลเวียนได้น้อยลง

2.นอนตะแคงขวา

ท่านอนตะแคงขวาแบบนี้เป็นผ้าที่ปลอดภัยต่อสมองและนอกจากจะทำให้ออกซิเจนไปเลี้ยงสมองได้ดีแล้วก็ยังทำให้หัวใจเต้นสะดวกขึ้นเพราะสมองกับหัวใจทำงานร่วมกัน หากหัวใจทำงานผิดปกติไปสมองก็ย่อมมีผลกระทบตาม

สิ่งที่คุณต้องรู้: ข้อดีของการนอนในท่านี้จะช่วยลดอาการปวดจริงๆนะ

นอนตะแคงขวาจะทำให้ระบบย่อยอาหารทำงานได้ดีขึ้นซึ่งจะช่วยอาหารไม่ตกค้างในกระเพาะอาหารการนอนตะแคงขวากระเพาะอาหารจะบีบใยอาหารลงไปที่ลำไส้เล็กได้ง่าย

หากว่าคุณทราบถึงผลลัพธ์ของการนอนหลับไม่เพียงพอแล้ว คุณลองคิดดูนะว่าถ้าคุณเสพติดการนอนดึกหรือฃะเลยในการนอนไปมากเท่าไหร่นอกจากสมองและการทรงจำของคุณจะทำงานได้ยากขึ้นแล้ว ร่างกายของคุณต้องสูญเสียภูมิคุ้มกันในร่างกายเพิ่มด้วยและถ้าบทความนี้มีประโยชน์ต่อคุณเราก็มั่นใจว่าบทความนี้ก็น่าจะเป็นของขวัญที่ดีต่อคนรอบข้างของคุณเองด้วยอย่าลืมแชร์บอกเขาด้วยนะ

Reference

  1. Pflug B, Toelle R. Therapie endogener depressionen durch Schlafentzug. Nervenarzt 1971; 42: 117-124.

  2. Vogel GW, Vogel F, McAbee RS, Thurmond AJ. Improvement of depression by REM sleep deprivation: new findings and a theory. Arch Gen Psychiatry 1980; 37: 247-253.

  3. Wehr TA, Wirz-Justice A, Goodwin FK, Duncan WC, Gillin JC. Phase advance of the circadian sleep-wake cycle as an antidepressant. Science 1979; 206: 710-711.

 

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และรักษาที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • คุกกี้ที่จำเป็น
    เปิดใช้งานตลอด

    คุกกี้มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้คุณสามารถใช้ได้อย่างเป็นปกติ และเข้าชมเว็บไซต์ คุณไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้
    รายละเอียดคุกกี้

  • คุกกี้เพื่อปรับเนื้อหาให้เข้ากับกลุ่มเป้าหมาย

    คุกกี้ประเภทนี้จะเก็บข้อมูลต่าง ๆ รวมทั้งข้อมูลส่วนบุคคลเกี่ยวกับตัวคุณเพื่อเราสามารถนำมาวิเคราะห์ และนำเสนอเนื้อหา ให้ตรงกับความเหมาะสมกับความสนใจของคุณ ถ้าหากคุณไม่ยินยอมเราจะไม่สามารถนำเสนอเนื้อหาและโฆษณาได้ไม่ตรงกับความสนใจของคุณ
    รายละเอียดคุกกี้

  • คุกกี้เพื่อการวิเคราะห์

    คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลการใช้งานเว็บไซต์ของคุณ เพื่อเป็นประโยชน์ในการวัดผล ปรับปรุง และพัฒนารักษาที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ ถ้าหากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราจะไม่สามารถวัดผล ปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ได้
    รายละเอียดคุกกี้

บันทึกการตั้งค่า