รู้ทันโรค! มะเร็งช่องปาก กลุ่มเสี่ยง อาการ และวิธีการรักษา

รู้ทัน มะเร็งช่องปาก

คุณรู้หรือไม่ว่ามะเร็งในช่องปากติด 1 ใน 10 โรคมะเร็งที่คร่าชีวิตคนไทยอย่างมากมายโดยเฉพาะผู้ชายมีปัจจัยเสี่ยงที่มากกว่าถึงพบมะเร็งช่องปากในผู้ชายมากกว่าผู้หญิงและมักจะพบเจอได้ในผู้ที่มีอายุ40ปีขึ้นไป

มะเร็งช่องปาก เกิดจากอะไร

สาเหตุหลักที่ทำให้เกิดมะเร็งช่องปากพอประมาณ 90%ผู้ป่วยมะเร็งช่องปากเป็นผู้ที่สูบบุหรี่และดื่มสุราการรับประทานอาหารที่ร้อนจัดจนเกินไปจะทำให้เกิดการระคายเคืองเมื่อถูกระคายเคืองอย่างเป็นประจำทำให้เนื้อเยื่อเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมและอาจทำให้เกิดเป็นเซลล์มะเร็งได้

สุขภาพในช่องปากไม่ดี เช่น ฟันผุ เรื้อรัง รวมถึงการระคายเคืองจากผู้ที่มีฟันแหลมคมของผู้ที่มีฟันบิ่น แตก หัก ของฟันที่คมจะบาดเนื้อเยื่อในช่องปากโดยเฉพาะกระพุ้งแก้มและ 

ลิ้นทำให้เป็นแผลเรื้อรังอยู่นานๆ แผลนั้นอาจเป็นมะเร็งได้

มะเร็งช่องปาก อาการเป็นอย่างไร

หากคุณมีแผลในปากนานเกิน 2 สัปดาห์ควรตรวจเช็คดูว่าคุณมีอาการเหล่านี้หรือไม่

1.มีฝ้าขาวเช็ดไม่ออก

2.มีรอยโรคสีแดง

3.มีตุ่มหรือก้อนโตเร็วไม่รู้สึกเจ็บ

4.มีปัญหาในการเคี้ยวอาหารและกลืนอาหาร

5.มีเลือดออกผิดปกติที่แผลในปาก

6.ขอบลิ้นเป็นไตหรือขอบแผลยกนูน

สำหรับอาการร้อนในหากเป็นแผลเล็ก ๆ 7-10วันก็สามารถหายได้เอง ส่วนแผลร้อนในที่ใหญ่ขึ้นมาหน่อยอาจใช้เวลานานหน่อยแต่สามารถหายไปได้เองใน 2-6 สัปดาห์

แผลในปาก

ส่วนมากมักจะเกิดเป็นแผลเล็ก ๆ ในปากซึ่งสาเหตุอาจไม่แน่ชัดเสมอไป แต่อาจจะพบว่ามีความสัมพันธ์กับการกัดไปโดนก็ทำให้เกิดบาดแผลขึ้นได้ หรือคนไข้มีความเครียด เคยไม่สบายมาก่อน มีภาวะร่างกายไม่แข็งแรงมาก่อนก็อาจจะเกิดแผลในปากได้

มีตุ่มในปาก

บางครั้งในช่องปากอาจพบได้ว่ามีตุ่มน้ำใส ๆ เกิดขึ้น โดยบริเวณที่พบ ได้แก่ ริมฝีปากล่าง กระพุ้งแก้ม หรือเพดานอ่อนในช่องปาก ตุ่มน้ำใสในช่องปากอาจเกิดจากการฉีกขาดของท่อต่อมน้ำลายเล็ก ๆ โดยต่อมน้ำลายเหล่านี้จะทำหน้าที่ผลิตน้ำลายส่งมาตามท่อน้ำลายทำให้ในช่องปากมีความชุ่มชื้นอยู่ตลอดเวลาแต่บางครั้งหากเราทำท่อน้ำลายเล็ก ๆ ฉีกขาดโดยไม่ได้ตั้งใจ เช่นกัน

การกัดโดนเนื้อเยื่ออ่อนในปาก เมื่อท่อน้ำลายมีรูรั่วจากฉีกขาดน้ำใดที่ถูกส่งมาตามปกติก็จะแยกตัวรั่วซึมออกมาการเกิดการขังของน้ำในบริเวณเนื้อเยื่ออ่อนใต้เยื่อบุผิวเนื้อเยื่อในช่องปาก กลายเป็นตุ่มน้ำใสในช่องปาก หรือ ถุงน้ำเมือก ซึ่งอาการในลักษณะนี้จะหายได้เองโดยไม่จำเป็นต้องมีการรักษาพิเศษใด ๆ แต่หากกรณีที่แผลลึกและยกตัวนูนขึ้นทำให้หายช้าหรือไม่สามารถหายเองได้อาจต้องพบแพทย์หรือทันตแพทย์ให้คำแนะนำ

วิธีตรวจเช็ค มะเร้งช่องปาก

กลุ่มเสี่ยง มะเร็งช่องปาก

ผู้ที่มีอาจเป็นกลุ่มเสี่ยงของมะเร็งในช่องปากมีดังนี้

-สูบบุหรี่จัด

-เคี้ยวหมาก

-กินของเผ็ด – ร้อน

-สวมใส่เครื่องมือ เช่น ฟันปลอม เครื่องจัดฟันที่หลวมไป คับเกินไป

มะเร็งช่องปาก รักษาหายไหม

สามารถหายได้หากพบระยะเริ่มแรกของมะเร็งปากและได้ทำการพบแพทย์ก็จะเป็นผลดีต่อการรักษากว่ามาก

การรักษามะเร็งช่องปาก

ในการรักษามะเร็งปากอาจต้องเข้ารับการผ่าตัด ทำการฉายแสงรังสี หรือทำเคยมีบำบัด ทั้งนี้ต้องอยู่ในการประเมินของทีมแพทย์เท่านั้น

ถึงอย่างนี้แล้วการดูแลสุขภาพในช่องปากก็เป็นสิ่งที่ไม่ควรมองข้ามเพราะมีสิ่งต่าง ๆ จ้องเล่นงานคุยอยู่ทุกเมื่อ คุณคงไม่พร้อมที่จะเสี่ยงกับเรื่องแค่นี้จริงไหม ฉะนั้นดูแลตัวเองให้ห่างไกลจากความเสี่ยงนี้ไว้คุณก็จะมีชีวิตที่ยืนยาวไปอีกนาน

Reference: https://www.mayoclinic.org/diseases-conditions/mouth-cancer/symptoms-causes/syc-20350997

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสบการณ์ที่ดีที่สุดสำหรับคุณ การใช้งานเว็บไซต์นี้แสดงว่าคุณยอมรับ นโยบายความเป็นส่วนตัว ของเรา

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • คุกกี้ที่จำเป็น
    เปิดใช้งานตลอด

    คุกกี้มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้คุณสามารถใช้ได้อย่างเป็นปกติ และเข้าชมเว็บไซต์ คุณไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้
    รายละเอียดคุกกี้

  • คุกกี้เพื่อปรับเนื้อหาให้เข้ากับกลุ่มเป้าหมาย

    คุกกี้ประเภทนี้จะเก็บข้อมูลต่าง ๆ รวมทั้งข้อมูลส่วนบุคคลเกี่ยวกับตัวคุณเพื่อเราสามารถนำมาวิเคราะห์ และนำเสนอเนื้อหา ให้ตรงกับความเหมาะสมกับความสนใจของคุณ ถ้าหากคุณไม่ยินยอมเราจะไม่สามารถนำเสนอเนื้อหาและโฆษณาได้ไม่ตรงกับความสนใจของคุณ
    รายละเอียดคุกกี้

  • คุกกี้เพื่อการวิเคราะห์

    คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลการใช้งานเว็บไซต์ของคุณ เพื่อเป็นประโยชน์ในการวัดผล ปรับปรุง และพัฒนาประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ ถ้าหากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราจะไม่สามารถวัดผล ปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ได้
    รายละเอียดคุกกี้

บันทึกการตั้งค่า