นพ. กฤติน อู่สิริมณีชัย

อายุรแพทย์, แพทย์โรคต่อมไร้ท่อและเมแทบอลิซึม

ประวัติคุณหมอ

นพ.กฤติน อู่สิริมณีชัย อายุรแพทย์โรคต่อมไร้ท่อและเมตะบอลิซึม ชำนาญด้านการดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานและเมตาบอลิซึม ให้คำแนะนำเฉพาะทางเกี่ยวกับการดูแลตนเองหลังการผ่าตัดกระเพาะเพื่อผลลัพธ์ที่ปลอดภัยและยั่งยืน

การศึกษา


  • แพทยศาสตร์บัณฑิต (M.D.) – คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (เกียรตินิยมอันดับ 1) และเป็นตัวแทนนิสิตที่ดีที่สุด (Valedictorian) (2009-2016)

วุฒิบัตรและการฝึกอบรมพิเศษ


  • วุฒิบัตรสาขาอายุรศาสตร์ทั่วไป (Diploma of the Thai Board of Internal Medicine)
  • วุฒิบัตรอนุสาขาอายุรศาสตร์โรคต่อมไร้ท่อและเมตะบอลิซึม (Diploma of the Thai Subspecialty Board of Endocrinology and Metabolism)
  • ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพเวชกรรม – แพทยสภาแห่งประเทศไทย
    • NLE Step 1: 99.97th Percentile
    • NLE Step 2: 99.8th Percentile
    • NLE Step 3: ผ่านการสอบ

ความถนัด


  • อายุรศาสตร์โรคต่อมไร้ท่อและเมตะบอลิซึม (Endocrinology and Metabolism)

สมาชิก/ชมรม และบทบาททางวิชาชีพ


  • อาจารย์แพทย์ – หน่วยอายุรศาสตร์โรคต่อมไร้ท่อและเมตะบอลิซึม คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ (กรกฎาคม 2023 – ปัจจุบัน)
  • แพทย์ประจำบ้านต่อยอด (Fellowship) – สาขาอายุรศาสตร์โรคต่อมไร้ท่อและเมตะบอลิซึม โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ (กรกฎาคม 2021 – มิถุนายน 2023)
    • หัวหน้าแพทย์ประจำบ้านต่อยอด (กรกฎาคม 2022 – มิถุนายน 2023)
  • อายุรแพทย์ – โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ (กรกฎาคม 2020 – มิถุนายน 2021)
  • แพทย์ประจำบ้าน (Residency) – สาขาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ (มิถุนายน 2017 – มิถุนายน 2020)
    • หัวหน้าแพทย์ประจำบ้าน (มิถุนายน 2019 – มิถุนายน 2020)
  • แพทย์เพิ่มพูนทักษะ (Internship) – โรงพยาบาลวชิระภูเก็ต (มิถุนายน 2016 – พฤษภาคม 2017)
  • วิทยากรและผู้ดำเนินรายการ ในงาน เสวนาวันเบาหวานโลก วันที่ 14 พฤศจิกายน 2566
  • วิทยากร ในงานเสวนาหัวข้อ “Upgrading Insulin Therapy: How to overcome the barriers of previous premixed insulin” วันที่ 20 ธันวาคม 2023

รางวัลและเกียรติยศ


  • The Most Distinguished Intern – โรงพยาบาลวชิระภูเก็ต (2017)
  • Gold Medal Award – นักศึกษาที่มีผลการเรียนสูงสุด คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2016)
  • Academic Honor Award – คะแนนสูงสุดในหมู่นักศึกษาสาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ มูลนิธิศาสตราจารย์ ถาบ นีลานิธี (2016)
  • คะแนนสูงสุดใน 14 วิชา จาก 22 วิชา ระหว่างการเรียนที่คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
    • อายุรศาสตร์และเวชศาสตร์ฉุกเฉิน (2016)
    • เวชศาสตร์ตามหลักฐานและจักษุวิทยา (2015)
    • พื้นฐานอายุรศาสตร์ ศัลยศาสตร์ สูติศาสตร์และนรีเวชศาสตร์ (2014)
    • เภสัชวิทยา พยาธิวิทยา ประสาทวิทยา และโลหิตวิทยา (2013)
    • กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา (2012)
  • รางวัลชนะเลิศ (บุคคลและทีม) – การแข่งขันตอบปัญหาสรีรวิทยา 7th Inter-Medical School Physiology Quiz (IMSPQ), University of Malaya (2012)